การดำเนินโรค ของ หัวใจล้มเหลว

13 ก.ค. 2563 | เขียนโดย นายแพทย์เอกลักษณ์ อาจนาฝาย ศูนย์หัวใจล้มเหลว โรงพยาบาลสินแพทย์ รามอินทรา

หัวใจล้มเหลวเป็นโรคเรื้อรัง หากไม่รักษาที่สาเหตุ และไม่ปรับยาอาการจะแย่ลงเรื่อยๆ จนทำให้เสียชีวิตในท้ายที่สุด



หัวใจล้มเหลวเป็นโรคเรื้อรัง หากไม่รักษาที่สาเหตุ และไม่ปรับยาอาการจะแย่ลงเรื่อยๆ จนทำให้เสียชีวิตในท้ายที่สุด

 

การดำเนินโรค ของ หัวใจล้มเหลว

 

A. เริ่มเสี่ยง

  • ทางเดินหายใจอุดกั้นขณะหลับ
  • ความดันโลหิตสูง
  • เบาหวาน
  • ไขมันในเลือดผิดปกติ
  • อ้วน ลงพุง
  • สูบบุหรี่
  • ดื่มแอลกอฮอล์

 

B. เริ่มเปลี่ยน

  • เปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างของหัวใจ
  • ตรวจพบหัวใจบีบตัวน้อยกว่าปกติ
  • ตรวจพบกล้ามเนื้อหัวใจโต

 

C. หัวใจล้มเหลว

  • เมื่อมีอาการเหนื่อย หรือ คั่งน้ำครั้งแรก

 

D. อาการหนัก

  • ผ่าตัดเปลี่ยนหัวใจ หรือ ใช้หัวใจเทียม
  • เข้าใจและทำใจ ประคับประคองในช่วงสุดท้ายของชีวิต

 

ภาวะหัวใจล้มเหลว แม้ไม่สามารถหายขาดได้ แต่สามารถรักษาได้ ทำให้ดีขึ้น มีชีวิตยืนยาว และกลับไปทำงานใช้ชีวิตประจำวันตามปกติได้

ศูนย์หัวใจ หรือ ศูนย์หัวใจล้มเหลว 

โรงพยาบาลสินแพทย์ รามอินทรา 

โรงพยาบาลสินแพทย์ ลำลูกกา

โรงพยาบาลสินแพทย์ เทพารักษ์  

โรงพยาบาลสินแพทย์ ศรีนครินทร์ 

โรงพยาบาลเด็กสินแพทย์  

SHARE